หน้าหลัก
สังคมศึกษา
สังคม
ภาษาไทย
อังกฤษพื้นฐาน
ชีววิทยา
เคมี
ฟิสิกส์
คณิตรศาสตร์
หน้าหลัก
หน้าหลัก
สังคมศึกษา
สังคม
ภาษาไทย
อังกฤษพื้นฐาน
ชีววิทยา
เคมี
ฟิสิกส์
คณิตรศาสตร์
หน้าหลัก
วันพุธที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2558
ฟังก์ชันขั้นบันได
ฟังก์ชันขั้นบันได
คือ
ฟังก์ชัน
บน
จำนวนจริง
ซึ่งเกิดจากการรวมกันระหว่าง
ฟังก์ชันคงตัว
จาก
โดเมน
ที่แบ่งออกเป็น
ช่วง
หลายช่วง
กราฟของฟังก์ชัน
จะมีลักษณะเป็น
ส่วนของเส้นตรง
หรือ
รังสี
ในแนวราบเป็นท่อน ๆ ตามช่วง ในระดับความสูงต่างกัน
อ่านต่อ
ฟังก์ชันเชิงเส้น
1.2
ฟังก์ชันเชิงเส้น
คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป
y = ax+b
เมื่อ
a ,b
เป็นจำนวนจริง และ
กราฟของฟังก์ชันเชิงเส้นจะเป็นเส้นตรง
ตัวอย่างของฟังก์ชันเชิงเส้น ได้แก่
อ่านต่อ
1)
y = x
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
พหุนาม
คือ นิพจน์สามารถเขียนในรูปเอกนามหรือสามารถเขียนในรูปการบวกของเอกนามตั้ง
แต่สองเอกนามขึ้นไป
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
คือ การเขียนพหุนามนั้นในรูปของการคูณของพหุนามที่มีดีกรี
อ่านต่อ
จำนวนจริง
จำนวนจริง
เซตของจำนวนจริงประกอบด้วยสับเซตที่สำคัญ ได้แก่
-
เซตของจำนวนนับ/ เซตของจำนวนเต็มบวก เขียนแทนด้วย
I
I =
{1
,
2
,
3…}
อ่านต่อ
การให้เหตุผลแบบนิรนัย
การให้เหตุผลแบบนิรนัย
การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นวิธีการให้เหตุผลโดยสรุปผลจากข้อความซึ่งเป็นความจริงทั่วไปมาเป็นข้ออ้างเพื่อสนับสนุนให้เกิดข้อสรุปที่เป็นความรู้ใหม่ที่เป็นข้อสรุปส่วนย่อยข้อสรุปที่ได้จากการให้เหตุผล
แบบนิรนัยนั้นจะเป็นข้อสรุปที่อยู่ในขอบเขตของเหตุเท่านั้นจะเป็นข้อสรุปที่กว้างหรือเกินกว่าเหตุ
อ่านต่อ
การให้เหตุผลแบบอุปนัย
การให้เหตุผลแบบอุปนัย (
Inductive Reasoning)
เกิดจากการที่มีสมมติฐานกรณีเฉพาะ หรือเหตุย่อยหลายๆ เหตุ เหตุย่อยแต่ละเหตุเป็นอิสระจากกัน มีความสำคัญเท่าๆ กัน และเหตุทั้งหลายเหล่านี้ไม่มีเหตุใดเหตุหนึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นสมมติฐานกรณีทั่วไป หรือกล่าวได้ว่า การให้เหตุผลแบบอุปนัยคือการนำเหตุย่อยๆ แต่ละเหตุมารวมกัน เพื่อนำไปสู่ผลสรุปเป็นกรณีทั่วไป เช่นตัวอย่างการให้เหตุผลแบบอุปนัย
อ่านต่อ
อกภพสัมพัทธ์
เอกภพสัมพัทธ์ คือ เซตที่ถูกกำหนดขึ้นโดยมีข้อตกลงว่า จะกล่าวถึงสิ่งที่เป็นสมาชิกของเซตนี้เท่านั้น จะไม่กล่าวถึงสิ่งอื่นใดที่ไม่เป็นสมาชิกของเซตนี้ โดยทั่วไปจะใช้สัญลักษณ์ แทนเซตที่เป็นเอกภพสัมพัทธ์
อ่านต่อ
หน้าแรก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)